วันศุกร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

จดหมายข่าวจาก ScienceKM ฉบับที่ 12 เดือนพฤศจิกายน 2556

การจัดการความรู
(Knowledge Management-KM)

    การจัดการความรู หรือที่เรียกยอๆ วา KM คือ เครื่องมือ เพื่อใชในการบรรลุเปาหมายอยางนอย 3
ประการไปพรอมๆ กัน ได้แก บรรลุเปาหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน และบรรลุ       เปาหมายการพัฒนาองคกรไปสูการเปนองคกรแห่งการเรียนรู

      ดังนั้นการจัดการความรูจึงไมใชเปาหมายในตัวของมันเอง เมื่อไรก็ตามที่มีการเขาใจผิด เอาการจัดการความรูเปนเปาหมาย ความผิดพลาดก็เริ่มเดินเขามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการความรูเทียม หรือ ปลอม เปนการดำเนินการเพียงเพื่อให้ไดชื่อวามีการจัดการความรูเทานั้นเอง

แรงจูงใจในการริเริ่มการจัดการความรู

          แรงจูงใจแท ตอการดําเนินการจัดการความรู คือเปาหมายที่งาน คน และองคกร เปนเงื่อนไขสําคัญ ในระดับที่เป็นหัวใจสูความสําเร็จในการจัดการความรู้
 แรงจูงใจเทียม ตอการดําเนินการจัดการความรูในสังคมไทย มีมากมายหลายแบบ เป็นต้นเหตุที่นําไปสูการทําการจัดการความรูแบบเทียม และนําไปสูความลมเหลวในที่สุด เชน ทําเพราะถูกบังคับตามขอกําหนด กลาวคือ ทําเพียงเพื่อให้ได ชื่อวาทํา หรือทําเพื่อชื่อเสียง ทําใหภาพลักษณขององคกรดูดี หรือมาจากความตองการผลงานของหนวยยอยภายในองค์กร เชน หน่วยพัฒนาบุคลากร (HRD) หนวยสารและ สารสนเทศ (ICT) หรือหน่วย พัฒนาองค์กร (OD) ตองการใชการจดการความรู้ในการสรางความเดน หรือสรางผลงานของตน หรืออาจมาจากคนเพียงไม่กี่คน ที่ชอบของเลนใหมๆ ชอบกิจกรรมที่ดูทันสมัย เปนแฟชั่น แตไมเขาใจความหมายและวิธีการดําเนินการจัดการความรูอย่างแท้จริง

 ประเภทความรู

 ความรูอาจแบ่งใหญ่ๆ ได ๒ ประเภท คือ
๑. ความรูเดนชัด (Explicit Knowledge) เปนความรูที่อยูในรูปแบบที่เปนเอกสาร หรือ วิชาการ อยูในตํารา คูมือปฏิบัติงาน
๒. ความรูซอนเรน (Tacit Knowledge)  เปนความรูที่แฝงอยูในตัวคน  เปนประสบการณที่สั่งสมมายาวนาน เปนภูมิปญญา โดยที่ความรูทั้ง ๒ ประเภทนี้มีวิธีการจัดการที่แตกตางกัน  การจัดการ ความรูเดนชัดจะเน้นไปที่การเข้าถึงแหลงความรู ตรวจสอบ และตีความได เมื่อนําไปใช้แลวเกิดความรู้ใหม่ก็นํามาสรุปไว เพื่อใชอางอิง หรือใหผูอื่นเขาถึงไดตอไป  สวนการจัดการ ความรูซอนเรนนั้นจะเนนไปที่การจัดเวทีเพื่อใหมีการแบงปนความรูที่อยูในตัวผูปฏิบัติ ทําใหเกิดการเรียนรูรวมกัน อันนําไปสูการสรางความรูใหม ที่แตละคนสามารถนําไปใชในการปฏิบัติงานไดตอไป

ชีวิตจริง ความรู ๒ ประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานภาพ สลับปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลา บางครั้ง Tacit ก็ออกมาเปน Explicit และบางครั้ง Explicit ก็เปลี่ยนไปเปน Tacit

สวัสดี

Science_KM Team

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น